วันจันทร์ที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2558

บทที่ 10 ศาสนาสำคัญในประเทศไทย

ศาสนาพราหมณ์
                ศาสนาพราหมณ์เป็นศาสนาที่เก่าแก่และเชื่อว่าเกิดก่อนพุทธกาลไม่น้อยกว่า ๕,000 ปี  ตลอดจนเป็นต้นตำหรับของศาสนาพุทธ คริสต์ อิสลาม และอื่น ๆ
                การเกิดของศาสนาพราหมณ์แตกต่างกับศาสนาอื่น ๆ เช่น ศาสนาพุทธ คริสต์ และอิสลามที่เกิดขึ้นเพราะมีคน ๆ  หนึ่งค้นพบความสำเร็จในหลักธรรม  แล้วสั่งสอนคนทั้งหลายในฐานะเป็นศาสดาคำสอนที่ท่านสอนก็เป็นศาสนา    แต่ศาสนาพราหมณ์เป็นศาสนาที่ อ่านเพิ่มเติม

บทที่ 9 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับศาสนา

ศาสนาเป็นสิ่งยึดเหนี่ยวจิตใจและเป็นแนวทางให้มนุษย์สามารถปฏิบัติตนได้อย่างถูกต้อง  แม้แต่ละศาสนาจะมีมูลเหตุการเกิดที่ต่างกัน   แต่ก็ล้วนมีประโยชน์ต่อการดำเนินชีวิตของมนุษย์เหมือนกัน  ดังนั้นจึงเป็นสิ่งสำคัญสำหรับมนุษย์ที่จะเรียนรู้และทำความเข้าใจ อ่านเพิ่มเติม

บทที่ 8 หน้าที่และมารยาทชาวพุทธ

ชาวพุทธ มีหน้าที่มากมายหลายประการที่จะต้องศึกษาเรียนรู้ ปฏิบัติ เพื่อที่จะรำลึกถึงพระคุณของพระพุทธเจ้า พระธรรม พระสงฆ์ และเพื่อทำนุบำรุงอุปถัมภ์ สืบทอดพระพุทธศาสนาให้เจริญรุ่งเรืองตลอดไป
          1.1 หน้าที่และบทบาทของพระภิกษุสามเณร
          พระนักเทศน์ ได้แก่ พระภิกษุที่ปฏิบัติหน้าที่สอนหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาแก่เด็ก เยาวชน และประชาชนทั่วไป โดยการแสดงธรรม อ่านเพิ่มเติม

บทที่ 7 พุทธสาวก พุทธสาวิกา และศาสนิกชนตัวอย่าง

พระนางมัลลิกา ทรงเป็นธิดาของช่างทำดอกไม้   มีหน้าที่ออกไปเก็บดอกไม้ในสวนเพื่อนำมาให้บิดาทำพวงมาลัยทุกวันเพื่อไว้ขายเป็นประจำ  นางได้ถวายดอกไม้และได้ฟังพระธรรมเทศนาจากพระพุทธเจ้าจนได้บรรลุโสดาปัตติผลเป็นพระอริยบุคคลตั้งแต่อายุยังน้อย อ่านเพิ่มเติม

บทที่ 6 การบริหารจิตและเจริญปัญญา

 การบริหารจิต หมาย ถึง การบำรุงรักษาจิตให้เข้มแข็งผ่องใสบริสุทธิ์  ซึ่งต่างกับการบริหารกาย เพราะการบริหารกายต้องทำให้ร่างกายเคลื่อนไหวอยู่เสมอแต่การบริหารจิต จะต้องฝึกฝนให้จิตสงบนิ่งอยู่กับเรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยเฉพาะ ซึ่งการฝึกจิตให้สงบ คือการทำสมาธินั่นเอง
สมาธิ หมายถึง ภาวะของจิตที่ตั้งมั่น กำหนดแน่วแน่อยู่กับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง หรือ อ่านเพิ่มเติม

บทที่ 5 พระไตรปิฎกและพุทธศาสนสุภาษิต

 พระสูตร หรือที่เรียกในทางวิชาการว่า พระสุตตันปิฎก เป็น 1 ใน 3 ปิฎก มีลักษณะที่แตกต่างออกไปจากพระวินัยปิฎกและ
พระอภิธรรมปิฎก คือ เป็นการแสดงพระธรรมเทศนาที่มี บุคคล เหตุการณ์และสถานที่เข้ามาประกอบที่เรียกว่า บุคลาธิษฐาน โดยที่พระพุทธเจ้าทรงปรารภบุคคลเป็นต้น แล้วทรงถือโอกาสแสดงธรรมเทศนา ที่มีลักษณะเป็น ธรรมาธิษฐานบ้าง แต่ก็มีเป็นส่วนน้อย อ่านเพิ่มเติม

บทที่ 4 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา

สังฆคุณ 9
พระสงฆ์ เป็นส่วนหนึ่งของพระรัตนตรัย หมายถึง ผู้ปฏิบัติตามคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า แล้วสอนให้ผู้อื่นรู้และปฏิบัติตาม
ผู้ที่จะเป็นพระสงฆ์ได้จะต้องผ่านการบวชโดยวิธีหนึ่งใน 3 วิธี ได้แก่
1. การบวชโดยพระพุทธเจ้าทรงประทานให้ เรียกว่า เอหิกภิกขุอุปสัมปทา
2. การบวชด้วยการรับไตรสรณคมน์ เรียกว่า ติสรณคมนูปสัมปทา อ่านเพิ่มเติม

บทที่ 3 วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา

วันมาฆบูชา    

ไม่ทำชั่ว  ทำแต่ความดี  ทำจิตใจให้ผ่องใส
        วันมาฆบูชาเป็นวันที่พระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงประทานพระโอวาทสำคัญอันถือได้ว่าเป็นหัวใจของคำสอนในพระพุทธศาสนา คือ โอวาทปาฏิโมกข์ ในวันเพ็ญ (ขึ้น ๑๕ ค่ำ) เดือนสาม ดวงจันทร์โคจรมาเสวยมาฆฤกษ์ แต่ถ้าปีใดมี อธิกมาส อ่านเพิ่มเติม

บทที่ 2 พุทธประวัติและชาดก

1.1 หลักการสอนของพระพุทธเจ้า
พระพุทธเจ้าเมื่อจะทรงสอนใครแต่ละครั้ง พระองค์ก็ทรงอาศัยองค์ประกอบหลายๆอย่าง ในการสอนบุคคลระดับต่างๆ ที่มีพื้นฐานความรู้ สติปัญญาที่แตกต่างกัน พระองค์ได้ประยุกต์คำสอนแต่ละลักษณะให้มีความเหมาะสม เป็นการ อ่านเพิ่มเติม

หน่วย 1 ประวัติและความสำคัญของพระพุทธศาสนา

 พระพุทธศาสนามีหลักคำสอนที่เป็นสภาวะกลาง คือ การปฏิบัติที่ยึดทางสายกลางไม่ตึงหรือหย่อนต่อการปฏิบัติจนเกินไปเรียกว่า  มัชฌิมาปฏิปทา   ซึ่งมีความหมายว่า การปฏิบัติที่พอดีมีความสมเหตุสมผล ไม่ทำอะไรที่สุดโต่ง เช่น เคร่งครัดสุดโต่ง หรือหย่อนสุดโต่ง อ่านเพิ่มเติม